@a.h4yyi: #4u #ex5malaysia #ex5dream

H
H
Open In TikTok:
Region: MY
Thursday 24 July 2025 03:14:23 GMT
659
84
1
2

Music

Download

Comments

dekaiman01
@Aiman :
Betul tu
2025-07-25 00:57:22
1
To see more videos from user @a.h4yyi, please go to the Tikwm homepage.

Other Videos

“นิคมสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้” เป็นหนึ่งในโครงการของกรมประชาสงเคราะห์ ซึ่งได้จัดตั้งขึ้นเป็นจำนวน 14 แห่งอันได้แก่ 1. นิคมปากจั่น จ.ระนอง 2. นิคมศรีสาคร จ.นราธิวาส 3. นิคมสุคิริน จ.นราธิวาส 4. นิคมธารโต จ.ยะลา 5. นิคมเบตง จ.ยะลา 6. นิคมพัฒนาภาคใต้ จ.ยะลา 7. นิคมพัฒนาภาคใต้ จ.สตูล 8. นิคมเทพา จ.สงขลา 9. นิคมรัตภูมิ จ.สงขลา 10. นิคมท้ายเหมือง จ.พังงา 11. นิคมขุนทะเล จ.สุราษฎร์ธานี 12. นิคมพระแสง จ.สุราษฎร์ธานี 13. นิคมโคกโพธิ์ จ.ปัตตานี 14. นิคมควนขนุน จ.พัทลุง กล่าวจำเพาะนิคมสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้ที่มีจำนวนสมาชิกในนิคมเยอะที่สุดนั่นก็คือ “นิคมสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้ จ.สตูล” ซึ่งถูกจัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2502 ตามนโยบายของ ฯพณฯ สฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น โดยเขตของนิคมสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้ จ.สตูล นั้นมีเนื้อที่ทั้งหมด 163,330 ไร่ และมีประชากรมากที่สุดถึง 33,526 คน ครอบคลุมพื้นที่ 3 อำเภอคือ อ.ควนกาหลง , มะนัง และท่าแพ โดยสมาชิกส่วนใหญ่อพยพมาจาก จ.นครศรีธรรมราช , สงขลา , พัทลุง และตรัง ซึ่งโดยส่วนใหญ่เป็นกลุ่มราษฎรที่มีอาชีพหลักคือ ทำนา และอันเนื่องมาจากการที่ต้องประสบกับปัญหาต่างๆในทุกๆปี จึงเป็นเหตุให้ทางราชการได้ทำการป่าวประกาศเชิญชวนให้ราษฎรในพื้นที่ 4 จังหวัดนี้ อพยพไปยังเขตนิคมสร้างตนเองเพื่อแสวงหาที่ทำกินและประกอบอาชีพใหม่ซึ่งทางรัฐบาลพร้อมที่จะสนับสนุนนั่นคือ การทำสวนยางพาราและปาล์มน้ำมัน โดยเมื่อแรกเข้าไปนั้นพื้นที่ทั้งหมดล้วนเป็นป่าใหญ่ซึ่งถือเป็นส่วนตอนใต้สุดของเทือกเขานครศรีธรรมราช ทำให้ราษฎรเหล่านั้นต้องบุกเบิกถางป่าและต้องดำรงชีพด้วยการเพาะปลูกข้าวไร่ , หาของป่า อาทิเช่น หวาย , เผาถ่านขาย เป็นต้น โดยทางรัฐบาลจะมอบที่ดินทำกินให้ในเบื้องต้นคนละ 15 ไร่ ก่อนที่จะมีการเพาะปลูกยางพาราและปาล์มน้ำมันขึ้นในภายหลัง สมาชิกนิคมทั้งหลายนั้นจึงถือว่าเป็นผู้บุกเบิกและสร้างพื้นที่นั้นให้เกิดความเจริญขึ้น แม้ในวันที่เริ่มต้นชีวิตใหม่พวกเขาจะต้องประสบกับความยากลำบากในรูปแบบที่ไม่เคยพบเห็น แต่พวกเขาเหล่านั้นก็ไม่เคยย่อท้อต่อความยากลำบากจนสามารถสร้างมรดกและสร้างความเจริญให้กับลูกหลานจวบจนกระทั่งทุกวันนี้. (คลิปวิดีโอการเข้าไปตั้งถิ่นฐานในเขตนิคมฯ ของรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย เมื่อปี พ.ศ.2502) #ควนกาหลง #มะนัง #สตูล
“นิคมสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้” เป็นหนึ่งในโครงการของกรมประชาสงเคราะห์ ซึ่งได้จัดตั้งขึ้นเป็นจำนวน 14 แห่งอันได้แก่ 1. นิคมปากจั่น จ.ระนอง 2. นิคมศรีสาคร จ.นราธิวาส 3. นิคมสุคิริน จ.นราธิวาส 4. นิคมธารโต จ.ยะลา 5. นิคมเบตง จ.ยะลา 6. นิคมพัฒนาภาคใต้ จ.ยะลา 7. นิคมพัฒนาภาคใต้ จ.สตูล 8. นิคมเทพา จ.สงขลา 9. นิคมรัตภูมิ จ.สงขลา 10. นิคมท้ายเหมือง จ.พังงา 11. นิคมขุนทะเล จ.สุราษฎร์ธานี 12. นิคมพระแสง จ.สุราษฎร์ธานี 13. นิคมโคกโพธิ์ จ.ปัตตานี 14. นิคมควนขนุน จ.พัทลุง กล่าวจำเพาะนิคมสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้ที่มีจำนวนสมาชิกในนิคมเยอะที่สุดนั่นก็คือ “นิคมสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้ จ.สตูล” ซึ่งถูกจัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2502 ตามนโยบายของ ฯพณฯ สฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น โดยเขตของนิคมสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้ จ.สตูล นั้นมีเนื้อที่ทั้งหมด 163,330 ไร่ และมีประชากรมากที่สุดถึง 33,526 คน ครอบคลุมพื้นที่ 3 อำเภอคือ อ.ควนกาหลง , มะนัง และท่าแพ โดยสมาชิกส่วนใหญ่อพยพมาจาก จ.นครศรีธรรมราช , สงขลา , พัทลุง และตรัง ซึ่งโดยส่วนใหญ่เป็นกลุ่มราษฎรที่มีอาชีพหลักคือ ทำนา และอันเนื่องมาจากการที่ต้องประสบกับปัญหาต่างๆในทุกๆปี จึงเป็นเหตุให้ทางราชการได้ทำการป่าวประกาศเชิญชวนให้ราษฎรในพื้นที่ 4 จังหวัดนี้ อพยพไปยังเขตนิคมสร้างตนเองเพื่อแสวงหาที่ทำกินและประกอบอาชีพใหม่ซึ่งทางรัฐบาลพร้อมที่จะสนับสนุนนั่นคือ การทำสวนยางพาราและปาล์มน้ำมัน โดยเมื่อแรกเข้าไปนั้นพื้นที่ทั้งหมดล้วนเป็นป่าใหญ่ซึ่งถือเป็นส่วนตอนใต้สุดของเทือกเขานครศรีธรรมราช ทำให้ราษฎรเหล่านั้นต้องบุกเบิกถางป่าและต้องดำรงชีพด้วยการเพาะปลูกข้าวไร่ , หาของป่า อาทิเช่น หวาย , เผาถ่านขาย เป็นต้น โดยทางรัฐบาลจะมอบที่ดินทำกินให้ในเบื้องต้นคนละ 15 ไร่ ก่อนที่จะมีการเพาะปลูกยางพาราและปาล์มน้ำมันขึ้นในภายหลัง สมาชิกนิคมทั้งหลายนั้นจึงถือว่าเป็นผู้บุกเบิกและสร้างพื้นที่นั้นให้เกิดความเจริญขึ้น แม้ในวันที่เริ่มต้นชีวิตใหม่พวกเขาจะต้องประสบกับความยากลำบากในรูปแบบที่ไม่เคยพบเห็น แต่พวกเขาเหล่านั้นก็ไม่เคยย่อท้อต่อความยากลำบากจนสามารถสร้างมรดกและสร้างความเจริญให้กับลูกหลานจวบจนกระทั่งทุกวันนี้. (คลิปวิดีโอการเข้าไปตั้งถิ่นฐานในเขตนิคมฯ ของรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย เมื่อปี พ.ศ.2502) #ควนกาหลง #มะนัง #สตูล

About